ปีนักษัตร

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
(เปลี่ยนทางจาก นักษัตร)
ปีนักษัตร
ภาษาจีน生肖
ฮั่นยฺหวี่พินอินshēngxiào
ชื่อภาษาจีนอื่น ๆ
ภาษาจีน屬相
ฮั่นยฺหวี่พินอินshǔxiàng

ปีนักษัตร หรือ นักขัต เป็นปีตามปฏิทินสุริยคติไทยและชาติอื่นในเอเชียตะวันออก เช่น จีน เวียดนาม และญี่ปุ่น (เพิ่งรู้จักหมูเลี้ยงในศตวรรษที่ 19 ก่อนหน้านั้นญี่ปุ่นรู้จักแต่หมูป่า) แบ่งเป็นรอบปี รอบละสิบสองปี แต่ละปีกำหนดสัตว์เรียกเป็นชื่อเรียงกันไปดังนี้

โดยความเชื่อเรื่องปีนักษัตรนั้นมีที่มาจากจีน

ตำนานเรื่องเล่าในสมัยปีใหม่แรกของจีน

(วันชิวอิก หรือวันที่ 1 เดือนอ้ายของจีน) สัตว์ทั้งหลายต่างมาชุมนุมหน้าวังหลวงของฮ่องเต้สวรรค์

ฮ่องเต้ประกาศให้สัตว์ 12 ชนิด ที่มาถึงก่อนวัน

(วันชิวยี่ หรือวันที่ 2 เดือนอ้าย) 

ดังนั้นสัตว์ 12 ชนิด ได้รับแต่งตั้งเป็นองครักษ์

ใน 1 วัน สัตว์ 1 ชนิดอยู่ยาม 2 ชั่วโมง

สัตว์ 12 ชนิดอยู่ยาม 24 ชั่วโมง

รวมเป็น 12 ยามเฝ้าวังหลวง

โดยมีหลักฐานทางโบราณคดีพบว่าตั้งแต่ก่อนยุคราชวงศ์ฉิน (221 ปีก่อนค.ศ. – 207 ปีก่อนค.ศ) ก็มีปรากฏรูปปีนักษัตรแล้ว โดยใช้สัตว์ประเภทต่าง ๆ เป็นตัวแทนหรือสัญลักษณ์ อันได้แก่[1]

ชวด ฉลู ขาล เถาะ มะโรง(มังกรฟ้าราชวงศ์ โจว-ฉิน มังกรมีขายาว 5 เล็บ ลำตัวคล้ายกวางมีปีก)(พญางูขาว-งูใหญ่-พญานาค) มะเส็ง (งูเล็ก) มะเมีย มะแม วอก ระกา จอ และ กุน

สัตว์ประจำปีนักษัตร

ปีนักษัตรจะมีสัตว์ประจำปี อันเป็นความหมายของชื่อปีนั้น ๆ มีดังนี้

  • ปีกุน สุกร ไทย
  • ปีเถาะ กระต่าย เวียดนาม
  • ปีฉลู วัว เวียดนามถือเป็นปีควาย
  • ปีมะโรง มังกร ไทย
  • ปีมะแม แพะ ญี่ปุ่น
  • สันนิษฐาน ที่มาของที่มาของปีนักษัตร เช่น ปีมังกร ฉลู มะเมีย (ม้า) มะแม (แพะ) ระกา (ไก่) จอ (สุนัข, หมา) เป็น ปีหมู ปีจอ ปีฉลู ปีกระต่าย ปีแพะ ปีม้า ปีระกา เป็น 6 นักษัตร สัตว์เลี้ยงชาวจีน หรืออีกนัยสำคัญคือ สัตว์ที่อาศัยบกทั้งหมด (12 ราศี) (หมายเหตุ: พญานาค อยู่ในน้ำ วังบาดาล) จีนคิดค้นปีนักษัตร สมัยราชวงศ์โจวเป็นอย่างน้อย เกือบ 3 พันปี มีหลักฐานอยู่ที่ ไต้หวัน
อักษรจีนอักษรภาคภิภพภาษาจีนกลางภาษาจีนฮากกา[2]ฮากกาภาษาเขมรชื่อนักษัตรภาษาไทยภาษาบาลีภาษาลาวล้านนาไทลื้อไทใหญ่เวียดนาม
子 (จื่อ/zǐ)สู่ฉู่ชู่ជូតชวดหนูมุสิกໃຈ້ ใจ้ไจ้ ᨧᩱ᩶ᦺᦈᧉ ไจ้เจ้อ-อีTí ตี๊

chuột จวด

丑 (โฉ่ว/chǒu)หนิวแหง่วแหงวឆ្លូវฉลูวัวอุสุภ, อุสภເປົ້າ เป้าเป้า ᨸᩮᩢ᩶ᩣᦔᧁᧉ เป้าเป้าSửu สืว trâu เจิว
寅 (อิ๋น/yín)หู่ฝู่ฟู่ខាលขาลเสือพยาฆร, พยัฆะ

วยาฆร, พยคฆ

ຍີ່ ยี่ยี ᨿᩦᦍᦲ ยียีDần เสิ่น

hổ โห

卯 (หม่าว/mǎo)ทู่ถู้ถู้ថោះเถาะกระต่ายสะสะ, สัศເໝົ້າ เหม้าเหม้า ᩉ᩠ᨾᩮᩢ᩶ᩣᦖᧁᧉ เหม้าเหม้าMạo

หม่าว mèo

แหม่ว

龍/龙辰 (เฉิน/chén)หลงหลุงหลุง

ลหยุง

រោងมะโรงงูใหญ่มังกร,นาค

สงกา

สีสี ᩈᩦสีสีThìn ถิ่น

rồng หร่ง

巳 (ซื่อ/sì)เสอสาสาម្សាញ់มะเส็งงูเล็กสัป,สปปกไส้,ไซ้ไส้ ᩈᩱ᩶ไส้เส้อ-อืTị ติ

rắn รั้น

馬/马午 (อู่/wǔ)หม่ามามาមមីมะเมียม้าดรงค,อัสส,อัสดรสะง้า

ซะง้า

สง้า ᩈ᩠ᨦ᩶᩻ᩣสะงะสีงะNgọ

เหงาะ ngựa

เหงือะ

未 (เว่ย/wèi)หยางหยองหยองមមែมะแมแพะเอฬกะ,อัชฉะเม็ดเม็ด ᨾᩮᩢ᩠ᨯเม็ดโมดMùi หมู่ย dê เซ
申 (เซิน/shēn)โหวแห็วแห็วវកวอกลิงมกฎะ,กปิสันสัน ᩈᩢ᩠ᨶแสนสันThân เทิน

khỉ ขี

雞/鸡酉 (โหย่ว/yǒu)จีแก/ไกแกរកាระกาไก่กุกกุฎ, กุกกุฏเฮ้า,เร้าเร้า ᩁᩮᩢ᩶ᩣเล้าเฮ้าDậu เส่อว gà ก่า
戌 (ซวี/xū)โก่วแกวแก้วจอหมาโสณ, สุนัขเส็ดเส็ด ᩈᩮᩢ᩠ᨯเส็ดเม็ดTuất ต๊วด chó จ๊อ
豬/猪亥 (ฮ่าย/hài)จูจูจูកុរกุนหมูสุกร, วราหไก้,ไก๊ใค้ ᨣᩲ᩶ใก๊เก้อ-อืHợi เห่ย

lợn เหลิ่น

อ้างอิงและเชิงอรรถ

  1. หน้าจุดประกาย 2 วัฒนธรรม, ส่งท้ายปีลิง 'ลิง' ในวัฒนธรรมของชาวจีน โดย ดนุพล ศิริตรานนท์. กรุงเทพธุรกิจปีที่ 30 ฉบับที่ 10345: วันพุธที่ 18 มกราคม พ.ศ. 2560
  2. คำอ่านเป็นภาษาฮากกา (จีนแคะ) สำเนียง ฉิมฮาก(แคะลึก) จาก hakkapeople.com [1] เก็บถาวร 2010-08-18 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
0.31519317626953